汉语拼音 hànyŭ pīnyīn ฮั่นอวี่ พินอิน
สัทอักษรภาษาจีน (พินอิน )
เนื่องจากตัวอักษรจีนเป็นตัวอักษรที่มาจากภาพวาดและวิวัฒนาการเรื่อยมาจน
เป็นตัวอักษรจีนในปัจจุบัน โดยแต่ละขีด
แต่ละเส้นของตัวอักษรจีนไม่สามารถนำมาผสมกันแล้วออกเสียงเป็นภาษาจีนได้
ด้วยเหตุนี้เองเราจึงจำเป็นที่จะต้องเรียนรู้ระบบการออกเสียงสัทอักษรภาษา
จีน (พินอิน拼音) ซึ่งได้ดัดแปลงมาจาก International Phonetic Alphabets
เพื่อช่วยในการอ่านออกเสียงตัวอักษรจีนนั้น ๆ หากเทียบกับภาษาไทยแล้ว
ระบบสัทอักษรจีนหรือพินอินนั้นมิได้ยากอย่างที่คิดเลย ภาษาไทยเรามีพยัญชนะ
สระ วรรณยุกต์ สัทอักษรจีนก็มีเช่นกัน声母 shēngmŭ เซิงหมู่ พยัญชนะ
1. พยัญชนะต้นของภาษาจีนมี 21 เสียง
b (ปัว / ปอ) p (พัว / พอ) m (มัว / มอ) f (ฟัว / ฟอ)
d (เตอ) t (เธอ) n (เนอ) l (เลอ)
g (เกอ) k (เคอ) h (เฮอ) j (จี)
q (ชี) x (ซี) z (จือ) c (ชือ)
s (ซือ) zh (จรือ) ch (ชรือ) sh (ซรือ) r (ยรือ)
หมายเหตุ zh ch sh r ให้ออกเสียงโดยยกปลายลิ้นขึ้นแตะบริเวณเพดานปาก ในการสะกดเสียงอ่านแบบไทยนั้น ผู้เขียนได้เลือกอักษร “ ร ” เป็นตัวแทนการออกเสียงยกลิ้นขึ้น มิได้หมายถึงให้สะกดเป็น จะ-รือ ชะ-รือ ซะ – รือ ยะ-รือ แต่ให้ออกเสียงควบกัน
2. พยัญชนะต้นกึ่งสระมี 2 เสียง คือ
y (i อี) และ w (u อู)
韵母 yùnmǔ อวิ้นหมู่ สระ แบ่งออกเป็นสระเดี่ยว และสระผสม ดังนี้
1. 单韵母 dān yùnmǔ ตาน อวิ้นหมู่ สระเดี่ยว มี 6 เสียง ดังนี้
a (อา) o (โอ) e (เออ) i (อี) u (อู) ü ( อวี)
** สระ ü จะออกเสียงสระ u (อู) ควบกับ สระ i (อี) ( u + i ) โดยจุดสองจุดที่อยู่ด้านบน u เท่ากับสระ i นั่นเอง
หมายเหตุ บางตำรากล่าวถึงสระเดี่ยวไว้ว่ามี 8 เสียง ดังนี้
a (อา) o (โอ) e (เออ) i (อี) u (อู) ü ( อวี) ê (เอ) er (เออร)
2. 双韵母 shāung yùnmǔ ซวง อวิ้นหมู่ สระผสม สังเกตได้ว่าการออกเสียงสระผสม จะเกิดจากเทคนิคการลากเสียงของสระแต่ละเสียงมาชนกัน
แบบฝึกหัด 2.1
a (อา) + o (โอ) = ao (อาว) i (อี) + u (อู) = iu (อิว) e (เออ) + i (อี) = ei (เอย)
a (อา) + i (อี) = ai (ไอย) u (อู) + i (อี) = ui (อุย) o (โอ) + u (อู) = ou(โอว)
u (อู) + o (โอ)= uo (อัว) u (อู) + a (อา)= ua (อวา) เป็นต้น
หากสระ e (เออ) ตามท้ายสระตัวอื่นจะออกเสียงเป็นสระ ê (เอ)
แบบฝึกหัด 2.2
i (อี) + e (เอ) = ie (เอีย) ü (อวี) + e (เอ) = üe (เอวีย)
กรณีที่มีเสียงพยัญชนะท้าย คือ - n หรือ - ng ตามหลังเสียงสระ เสียง - n จะเทียบได้กับเสียง “แม่กน” ในภาษาไทย และ - ng จะเทียบได้กับเสียง “แม่กง” ในภาษาไทย ส่วนเสียง - r ด้านท้ายนั้นกำกับไว้เพื่อแสดงว่าเป็นเสียงที่จำเป็นต้องม้วนหดลิ้นให้ยก ขึ้นไปแตะบริเวณเพดานแข็๋ง
แบบฝึกหัด 2.3
a (อา) --- an (อาน) a (อา) --- ang (อาง) o (โอ) --- ong (อง) e (เออ) --- en (เอิน)
e (เออ) --- eng (เอิง) ia (เอียะ) --- ian (เอียน) i (อี) --- in (อิน) ia (เอียะ) --- iang (เอียง)
i (อี) --- ing (อิง) i (อี) --- iong ( อี+อง) ua (อวา) --- uan (อวาน)
ua (อวา) --- uang (อวาง) u (อู) --- un (อูน) ü (อวี) --- ün (อวิน)
üa (เอวียะ) --- üan (เอวียน) e (เออ) --- er (เออ-ร)
ในบรรดาสระเดี่ยว 6 เสียง จะมีอยู่ 2 เสียง คือ เสียงสระ i (อี) และ u (อู) ที่ไม่สามารถใช้เป็นสระขึ้นต้นพยางค์ตามลำพังได้ จึงจำเป็นที่จะต้องมีพยัญชนะกึ่งสระ y (อี) และ w (อู) มาช่วยกำกับแทนที่สระ i (อี) และ u (อู)
แบบฝึกหัด 2.4
i (อี) --- yi (อี) ia (เอียะ) --- ya(เอียะ) iao (เอียว) --- yao (เอียว)
ie (อีเย) --- ye (เอีย) iou (อิว)--- you (อิว) ian (เอียน) --- yan (เอียน)
in (อิน) --- yin (อิน) iang (เอียง) --- yang(เอียง) ing (อิง) --- ying(อิง)
iong ( อี+อง) --- yong( อี+อง) u (อู) --- wu (อู) ua (อวา) --- wa (อวา)
uo (อัว) --- wo(อัว) uai (อวาย) --- wai (อวาย) uei (เอวย) -- wei (เอวย)
uan (อวาน) --- wan(อวาน) uen (อู+เอิน) -- wen (อู+เอิน) uang (อวาง) -- wang (อวาง)
ueng (อู+เอิง) -- weng (อู+เอิง)
韵母分组 การแบ่งกลุ่มของสระผสม
สระผสม มีทั้งสิ้น 30 เสียง โดยแบ่งออกได้เป็น 4 กลุ่ม ดังนี้
1
|
2
|
3
|
4
|
||
a
อา
|
o
โอ
|
e
เออ
|
i
อี
|
u
อู
|
ü
อวี
|
- กลุ่มที่ 1 นำหน้าด้วยสระเสียงเดี่ยว a (อา) o (โอ) e (เออ) ได้แก่
a (อา) o (โอ) e (เออ) ê (เอ) - i (อือ)
er (เออ-ร) ai (อาย) ei (เอย) ao (อาว)
ou (โอว) an (อาน) en (เอิน) ang (อาง / อัง)
eng (เอิง) ong (อง)
*ในกรณีที่สระ i (อี)อยู่ในกลุ่ม 1 ซึ่งใช้กับเสียงพยัญชนะ z c s zh ch sh r ให้ออกเสียงเป็นสระอือ
zi (จือ) ci (ชือ) si (ซือ)
zhi (จรือ) chi (ชรือ) shi (ซรือ) ri (ยรือ)
声母
|
1
|
||||||||||||||
a
อา
|
o
โอ
|
e
เออ
|
ê
เอ
|
- i
อือ
|
er
|
ai
อาย
|
ei
เอย
|
ao
อาว
|
ou
โอว
|
an
อาน
|
en
เอิน
|
ang
อัง
|
eng
เอิง
|
ong
อง
|
|
b
โป
|
ba
ปา
|
bo
โป
|
bai
ปาย
|
bei
เปย
|
bao
ปาว
|
ban
ปาน
|
ben
เปิน
|
bang
ปัง
|
beng
เปิง
|
||||||
p
โพ
|
pa
พา
|
po
โพ
|
pai
พาย
|
pei
เพย
|
pao
พาว
|
pou
โพว
|
pan
พาน
|
pen
เพิน
|
pang
พัง
|
peng
เพิง
|
|||||
m
โม
|
ma
มา
|
mo
โม
|
me
เมอ
|
mai
มาย
|
mei
เมย
|
mao
มาว
|
mou
โมว
|
man
มาน
|
men
เมิน
|
mang
มัง
|
meng
เมิง
|
||||
f
โฟ
|
fa
ฟา
|
fo
โฟ
|
fei
เฟย
|
fou
โฟว
|
fan
ฟาน
|
fen
เฟิน
|
fang
ฟัง
|
feng
เฟิง
|
|||||||
d
เตอ
|
da
ตา
|
de
เตอ
|
dai
ตาย
|
dei
เตย
|
dao
ตาว
|
dou
โตว
|
dan
ตาน
|
den
เติน
|
dang
ตัง
|
deng
เติง
|
dong
ตง
|
||||
t
เทอ
|
ta
ทา
|
te
เทอ
|
tai
ทาย
|
tao
ทาว
|
tou
โทว
|
tan
ทาน
|
tang
ทัง
|
teng
เทิง
|
tong
ธง
|
||||||
n
เนอ
|
na
นา
|
ne
เนอ
|
nai
นาย
|
nei
เนย
|
nao
นาว
|
nou
โนว
|
nan
นาน
|
nen
เนิน
|
nang
นัง
|
neng
เนิง
|
nong
นง
|
||||
l
เลอ
|
la
ลา
|
le
เลอ
|
lai
ลาย
|
lei
เลย
|
lao
ลาว
|
lou
โลว
|
lan
ลาน
|
lang
ลัง
|
leng
เริง
|
long
ลง
|
|||||
g
เกอ
|
ga
กา
|
ge
เกอ
|
gai
กาย
|
gei
เกย
|
gao
กาว
|
gou
โกว
|
gan
กาน
|
gen
เกิน
|
gang
กัง
|
geng
เกิง
|
gong
กง
|
||||
k
เคอ
|
ka
คา
|
ke
เคอ
|
kai
คาย
|
kei
เคย
|
kao
คาว
|
kou
โคว
|
kan
คาน
|
ken
เคิน
|
kang
คัง
|
keng
เคิง
|
kong
คง
|
||||
H
เฮอ
|
ha
ฮา
|
He
เฮอ
|
hai
ฮาย
|
hei
เฮย
|
hao
ฮาว
|
hou
โฮว
|
han
ฮัน
|
hen
เฮิน
|
hang
ฮัง
|
heng
เฮิง
|
hong
ฮง
|
||||
j
จี
|
|||||||||||||||
q
ชี
|
|||||||||||||||
x
ซี
|
|||||||||||||||
z
จือ
|
za
จา
|
ze
เจอ
|
zi
จือ
|
zai
จาย
|
zei
เจย
|
zao
จาว
|
zou
โจว
|
zan
จัน
|
zen
เจิน
|
zang
จาง
|
zeng
เจิง
|
zong
จง
|
|||
c
ชือ
|
ca
ชา
|
ce
เชอ
|
ci
ชือ
|
cai
ชาย
|
cao
ชาว
|
cou
โชว
|
can
ชัน
|
cen
เชิน
|
cang
ชาง
|
ceng
เชิง
|
cong
ชง
|
||||
s
ซือ
|
sa
ซา
|
se
เซอ
|
si
ซือ
|
sai
ซาย
|
sao
ซาว
|
sou
โซว
|
san
ซัน
|
sen
เซิน
|
sang
ซาง
|
seng
เซิง
|
song
ซง
|
||||
zh
จือ
|
zha
จา
|
zhe
เจอ
|
zhi
จือ
|
zhai
จาย
|
zhei
เจย
|
zhao
จาว
|
zhou
โจว
|
zhan
จัน
|
zhen
เจิน
|
zhang
จาง
|
zheng
เจิง
|
zhong
จง
|
|||
ch
ชือ
|
cha
ชา
|
che
เชอ
|
chi
ชือ
|
chai
ชาย
|
chao
ชาว
|
chou
โชว
|
chan
ชัน
|
chen
เชิน
|
chang
ชาง
|
cheng
เชิง
|
chong
ชง
|
||||
sh
ซือ
|
sha
ซา
|
she
เซอ
|
shi
ซือ
|
shai
ซาย
|
shei
เซย
|
shao
ซาว
|
shou
โซว
|
shan
ซัน
|
shen
เซิน
|
shang
ซาง
|
sheng
เซิง
|
||||
r
|
re
เยอ
|
ri
ยือ
|
rao
ยาว
|
rou
โยว
|
ran
ยาน
|
ren
เยิน
|
rang
ยาง
|
reng
เยิง
|
rong
ยง
|
กลุ่มที่ 2 นำหน้าด้วยสระ i (อี) ได้แก่
i (อี) ia (เอียะ) iao (เอียว) ie (เอีย) iou (อิว)
ian (เอียน) in (อิน) iang (เอียง) ing (อิง) iong (อี+อง)
声母
|
2
|
|||||||||
i
อี
|
ia
เอียะ
|
iao
เอียว
|
ie
เอีย
|
iou
อิว
|
ian
เอียน
|
in
อิน
|
iang
เอียง
|
ing
อิง
|
iong
อี+อง
|
|
b
โป
|
bi
ปี
|
biao
เปียว
|
bie
เปีย
|
bian
เปียน
|
bin
ปิน
|
bing
ปิง
|
||||
p
โพ
|
pi
พี
|
piao
เพียว
|
pie
เพีย
|
pian
เพียน
|
pin
พิน
|
ping
พิง
|
||||
m
โม
|
mi
มี
|
miao
เมียว
|
mie
เมีย
|
miu
มิว
|
mian
เมียน
|
min
มิน
|
ming
มิง
|
|||
f
โฟ
|
||||||||||
d
เตอ
|
di
ตี
|
diao
เตียว
|
die
เตีย
|
diu
ติว
|
dian
เตียน
|
ding
ติง
|
||||
t
เทอ
|
ti
ที
|
tiao
เทียว
|
tie
เทีย
|
tian
เทียน
|
ting
ทิง
|
|||||
n
เนอ
|
ni
นี
|
niao
เนียว
|
nie
เนีย
|
niu
นิว
|
nian
เนียน
|
nin
นิน
|
niang
เนียง
|
ning
นิง
|
||
l
เลอ
|
li
ลี
|
lia
เลียะ
|
l iao
เลียว
|
lie
เลีย
|
liu
ลิว
|
lian
เลียน
|
lin
ลิน
|
liang
เลียง
|
ling
ลิง
|
|
g
เกอ
|
||||||||||
k
เคอ
|
||||||||||
H
เฮอ
|
||||||||||
j
จี
|
ji
จี
|
jia
เจียะ
|
jiao
เจียว
|
jie
เจีย
|
jiu
จิว
|
jian
เจียน
|
jin
จิน
|
jiang
เจียง
|
jing
จิง
|
jiong
โจวง
|
q
ชี
|
qi
ชี
|
qia
เชียะ
|
qiao
เชียว
|
qie
เชีย
|
qiu
ชิว
|
qian
เชียน
|
qin
ชิน
|
qiang
เชียง
|
qing
ชิง
|
qiong
โชวง
|
x
ซี
|
xi
ซี
|
xia
เซียะ
|
xiao
เซียว
|
xie
เซีย
|
xiu
ซิว
|
xian
เซียน
|
xin
ซิน
|
xiang
เซียง
|
xing
ซิง
|
xiong
โซวง
|
z จือ
|
||||||||||
c ชือ
|
||||||||||
s ซือ
|
||||||||||
zhจือ
|
||||||||||
chชือ
|
||||||||||
shซือ
|
||||||||||
r ยือ
|
||||||||||
yi
อี
|
ya
เอียะ
|
yao
เอียว
|
ye
เอ
|
you
อิว
|
yan
เอียน
|
yin
อิน
|
yang
เอียง
|
ying
อิง
|
yong
อี+อง
|
กลุ่มที่ 3 นำหน้าด้วยสระ u ได้แก่
u (อู) ua (อวา) uo (อัว) uai (อวาย) uei (อู+เอย)
uan (อวาน) un (อุน) uang (อวาง) ueng (อู+เอิง)
声母
|
3
|
||||||||
u
อู
|
ua
อวา
|
uo
อัว
|
uai
อวาย
|
uei
อุย
|
uan
อวาน
|
un
อุน
|
uang
อวาง
|
ueng
อู+เอิง
|
|
b
โป
|
bu
ปู
|
||||||||
p
โพ
|
pu
พู
|
||||||||
m
โม
|
mu
มู
|
||||||||
f
โฟ
|
fu
ฟู
|
||||||||
d
เตอ
|
du
ตู
|
duo
ตัว
|
dui
ตุย
|
duan
ตวาน
|
dun
ตุน
|
||||
t
เทอ
|
tu
ทู
|
tuo
ทัว
|
tui
ทุย
|
tuan
ทวาน
|
tun
ทุน
|
||||
n
เนอ
|
nu
นู
|
nuo
นัว
|
nuan
นวน
|
||||||
l
เลอ
|
lu
ลู
|
luo
ลัว
|
luan
ลวน
|
lun
ลุน
|
|||||
g
เกอ
|
gu
กู
|
gua
กวา
|
zuo
กัว
|
guai
กวาย
|
gui
กุย
|
guan
กวาน
|
gun
กุน
|
guang
กวาง
|
|
k
เคอ
|
ku
คู
|
kua
ควา
|
kuo
คัว
|
kuai
ควาย
|
kui
คุย
|
kuan
ควาน
|
kun
คุน
|
kuang
ควาง
|
|
H
เฮอ
|
hu
ฮู
|
hua
ฮวา
|
huo
ฮัว
|
huai
ฮวาย
|
hui
ฮุย
|
huan
ฮวาน
|
hun
ฮุน
|
huang
ฮวาง
|
|
j
จี
|
|||||||||
q
ชี
|
|||||||||
x
ซี
|
|||||||||
z
จือ
|
zu
จู
|
zuo
จัว
|
zui
จุย
|
zuan
จวาน
|
zun
จุน
|
||||
c
ชือ
|
cu
ชู
|
cuo
ชัว
|
cui
ชุย
|
cuan
ชวาน
|
cun
ชุน
|
||||
s
ซือ
|
su
ซู
|
suo
ซัว
|
sui
ซุย
|
suan
ซวน
|
sun
ซุน
|
||||
zh
จือ
|
zhu
จู
|
zhua
จวา
|
zhuo
จัว
|
zhuai
จวาย
|
zhui
จุย
|
zhuan
จวาน
|
zhun
จุน
|
zhuang
จวง
|
|
ch
ชือ
|
chu
ชู
|
chua
ชวา
|
chuo
ชัว
|
chuai
ชวาย
|
chui
ชุย
|
chuan
ชวาน
|
chun
ชุน
|
chuang
ชวง
|
|
sh
ซือ
|
shu
ซู
|
shua
ซวา
|
shuo
ซัว
|
shuai
ซวาย
|
Shui
ซุย
|
shuan
ซวาน
|
shun
ซุน
|
shuang
ซวง
|
|
r
ยือ
|
ru
ยู
|
rua
ยวา
|
ruo
ยัว
|
rui
ยุย
|
ruan
ยวาน
|
run
ยุน
|
|||
wu
อู
|
wa
อวา
|
wo
อัว
|
wai
อวาย
|
wei
อู+เอย / เวย
|
wan
อวาน
|
wen
อู+เอินเวิน
|
wang
อวาง
|
weng
อู+เอิง / เวิง
|
กลุ่มที่ 4 กลุ่มสุดท้ายนำหน้าด้วยสระ ü (อวี) ได้แก่
ü (อวี) üe (เอวีย) üan (เอวียน) ün (อวิน)
声母
|
4
|
|||
ü
อวี
|
üe
อวี+เอ (เอวีย)
|
üan
อวี+อัน(เอวียน)
|
ün
อวิน
|
|
b โป
|
||||
p โพ
|
||||
mโม
|
||||
f โฟ
|
||||
d เตอ
|
||||
t เทอ
|
||||
n
เนอ
|
nü
นวี
|
nüe
นวี+เอ (เนวีย)
|
||
l
เลอ
|
lü
ลวี
|
lüe
ลวี+เอ (เลวีย)
|
||
g เกอ
|
||||
k เคอ
|
||||
h เฮอ
|
||||
j
จี
|
ju
จวี
|
jue
จวี+เอ (เจวีย)
|
juan
จวี+อัน(เจวียน)
|
jun
จวิน
|
q
ชี
|
qu
ชวี
|
que
ชวี+เอ (เชวีย)
|
quan
ชวี+อัน (เชวียน)
|
qun
ชวิน
|
x
ซี
|
xu
ซวี
|
xue
ซวี+เอ(เซวีย)
|
xuan
ซวี+อัน(เซวียน)
|
xun
ซวิน
|
z จือ
|
||||
c ชือ
|
||||
s ซือ
|
||||
zh จือ
|
||||
ch ชือ
|
||||
sh ซือ
|
||||
r ยือ
|
||||
yu
อวี
|
yue
อวี+เอ(เอวีย)
|
yuan
อวี+อัน(เอวียน)
|
yun
อวิน
|
** ข้อสังเกต พยัญชนะ j (จี) q (ชี) x (ซี) y (อี) หากผสมกับสระ ü (อวี)จะละเครื่องหมายจุดจุดข้างบนเอาไว้ อย่างที่บอกไว้ข้างต้น สระ ü (อวี) มีรากฐานมาจากสระ u (อู) + i (อี)หากสังเกตการออกเสียงพยัญชนะ j (จี) q (ชี) x (ซี) y (อี) ให้ดี ๆ จะเห็นว่ามีเสียงสระ i (อี) ประกอบอยู่ด้วย ดังนั้นจึงถือว่าหากนำพยัญชนะ j (จี) q (ชี) x (ซี) y (อี) มาผสมกับสระ ü (อวี) ไม่จำเป็นต้องเติมจุดบนสระ ü
ทบทวนฟังเสียงพินอินจากเจ้าของภาษา คลิ๊กนี้เลยค่ะ